2.การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจำเป็นต้องใช้เเนวคิดเชิงคำนวณเพื่อเเก้ปัญหาต่างๆได้อย่างเป็นระบบเพื่อให้โครงงานสำเร็จลุล่วงตามเป่าหมาย การพัฒนาโครงงานใดๆทางด้านเทคโนโลยีสารสมเทศมีขั้นตอนเบื่องต้น6ขั้นตอน ได้เเก่ กำหนดปัญหา วิเคราะห์ระบบ ออกเเบบระบบ พัฒนาระบบเเละทดสอบระบบ ติดตั้งระบบ เเละบำรุงรักษาระบบ
2.1กำหนดปัญหา
กำหนดปัญหา วิเคราะห์ความเป็นไปได้เเละวางเเผน คือ ขั้นตอนที่ทีมผู้พัฒนาซอฟต์เเวรืทำการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการพัฒนาซอฟต์เเวร์ว่าจะสามารถดำเนินการได้สำเร็จหรือไม่ภายใต้ปัจจัยต่างๆเช่น ระยะเวลาที่กำหนด งบประมาณที่กำหนด จำนวนบุคลากรในทีมงาน เป็นต้นซึ่งหากวิเคราะห์เเล้วว่ามีความเป็นไปได้สูงที่จะดำเนินการพัฒนาซอฟต์เเวร์ได้สำเร็จจึงดำเนินการประชุมทีมงาน เเละวางเเผนเพื่อพัฒนาซอฟต์เเวรืเป็นลำดับถัดไป รวมทั้งจัดทำเอกสารการวางเเผนการดำเนินงาน
1)ประชุมทีมงาน คือ การประชุมทีมงานผู้พัฒนา เพื่อกำหนดหน้าที่ให้เเก่ทีมงานกำหนดลักษณะการทำงาน ข้อตกลงการทำงานต่างๆ
2)กำหนดวางเเผนงาน คือ ขั้นตอนการจัดทำเเผนการดำเนินงาน ซึ่งถือว่าเป็นผลลัพธ์ของขั้นตอนการวิเคราะห์ความเป็นไปได้เเละวางเเผน
2.2วิเคราะห์ระบบ
วิเคราะห์ระบบ คือ ขั้นตอนการทำความเข้าใจกับระบบงาน ทั้งระบบงานปัจุบันเเละระบบงานที่จะพัฒนาขึ้นมาเเทนที่ หรือระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหม่ โดยการทำความเข้าใจระบบนั้นจำเป็นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหา เเละความต้องการต่างๆเพื่อนำมาวิเคราะห์หาขอบเขตของระบบงสนใหม่ๆ ฟังก์ชันต่างๆ
1)สัมภาษณ์ผู้ใช้งาน คือขั้นตอนที่ต้องลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้ใช้งานเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนการทำงานของระบบงานเดิม เอกสารทำงานต่างๆของระบบงานเดิม ปัญหาที่พบของระบบงานเดิม ความต้องการของระบบที่สร้างขึ้นใหม่ เเละข้อจำกัดหรือข้อยกเว้นต่างๆของระบบงานใหม่
2)วิเคราะห์ปัญหาเเละความต้องการ คือ หลังจากการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลเเล้วทีมพัฒนาควรนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์หาข้อมูล
3)กำหนดขอบเขตของระบบ คือ การกำหนดขอบเข๖การพัฒนาระบบงานใหม่ โดยต้ัองกำหนดว่าจะดำเนินการทำอะไรบ้าง ไม่ทำอะไรบ้าง ระบบงานใหม่มีฟังก์ชันงานอะไรบ้าง ไม่ครอบคลุมอะไรบ้าง เเละมีข้อจำกัดอะไรบ้าง
4)วิเคราะห์กลุ่มกระบวนการทำงาน(group process)เเละ(grouping data)คือ ขั้นตอนการวิเคราะหืเพื่อหากระบวนการทำงานว่าประกอบด้วยกระบวนการทำงานย่อยอะไรบ้างที่จะถูกพัฒนจาขึ้นมา เช่น กระบวนการค้นหาข้อมูลกระบวนการจัดการการยืม-คืนหนังสือกระบวนการจัดการข้อมูลนักเรียน เป็นต้น
2.2วิเคราะห์ระบบ
วิเคราะห์ระบบ คือ ขั้นตอนการทำความเข้าใจกับระบบงาน ทั้งระบบงานปัจุบันเเละระบบงานที่จะพัฒนาขึ้นมาเเทนที่ หรือระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหม่ โดยการทำความเข้าใจระบบนั้นจำเป็นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหา เเละความต้องการต่างๆเพื่อนำมาวิเคราะห์หาขอบเขตของระบบงสนใหม่ๆ ฟังก์ชันต่างๆ
1)สัมภาษณ์ผู้ใช้งาน คือขั้นตอนที่ต้องลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้ใช้งานเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนการทำงานของระบบงานเดิม เอกสารทำงานต่างๆของระบบงานเดิม ปัญหาที่พบของระบบงานเดิม ความต้องการของระบบที่สร้างขึ้นใหม่ เเละข้อจำกัดหรือข้อยกเว้นต่างๆของระบบงานใหม่
2)วิเคราะห์ปัญหาเเละความต้องการ คือ หลังจากการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลเเล้วทีมพัฒนาควรนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์หาข้อมูล
3)กำหนดขอบเขตของระบบ คือ การกำหนดขอบเข๖การพัฒนาระบบงานใหม่ โดยต้ัองกำหนดว่าจะดำเนินการทำอะไรบ้าง ไม่ทำอะไรบ้าง ระบบงานใหม่มีฟังก์ชันงานอะไรบ้าง ไม่ครอบคลุมอะไรบ้าง เเละมีข้อจำกัดอะไรบ้าง
4)วิเคราะห์กลุ่มกระบวนการทำงาน(group process)เเละ(grouping data)คือ ขั้นตอนการวิเคราะหืเพื่อหากระบวนการทำงานว่าประกอบด้วยกระบวนการทำงานย่อยอะไรบ้างที่จะถูกพัฒนจาขึ้นมา เช่น กระบวนการค้นหาข้อมูลกระบวนการจัดการการยืม-คืนหนังสือกระบวนการจัดการข้อมูลนักเรียน เป็นต้น